หลวงตาณรงศักดิ์ ขีณาลโย

  • หน้าหลัก
  • สื่อธรรมะ
    • หนังสือธรรมะ
    • เสียงธรรม
      • เสียงธรรมรายปี
      • ไฟล์เสียงจัดชุด
    • CD
    • e-Book ปุจฉา-วิสัชนา
  • ปุจฉา-วิสัชนา
  • ภาพธรรม
  • วิดีโอธรรม
  • ธรรมทัศน์
  • ธรรมถึงใจ
  • ธรรมโอวาท
    • โอวาทธรรม
      • โอวาทธรรม 60-61
      • โอวาทธรรม 62
        • โอวาทธรรม ม.ค. - มี.ค. 62
        • โอวาทธรรม เม.ย.- มิ.ย. 62
        • โอวาทธรรม ก.ค. - ก.ย. 62
        • โอวาทธรรม ต.ค. - ธ.ค. 62
      • โอวาทธรรม 63
        • โอวาทธรรม ม.ค. - มี.ค. 63
        • โอวาทธรรม เม.ย. - มิ.ย. 63
        • โอวาทธรรม ก.ค. - ก.ย. 63
        • โอวาทธรรม ต.ค. - ธ.ค. 63
      • โอวาทธรรม 64
        • โอวาทธรรม ม.ค. - มี.ค. 64
      • โอวาทธรรมถึงใจ
    • ปกิณกธรรม
    • ประชาสัมพันธ์สื่อธรรม
    • โอวาทธรรมชุด
  • Other Languages
    • English
    • Deutsch

สติสัมปชัญญะกับอวิชชา

สติสัมปชัญญะกับอวิชชา

ผู้ถาม :  กราบเรียนถามหลวงตาครับ  ผมสงสัยว่า ความรู้สึกตัวที่เป็นสติสัมปชัญญะ กับความรู้สึกตัวที่เป็นอวิชชา  ต่างกันอย่างไรครับ

 

หลวงตา :  ความรู้สึกตัวที่เป็นสัมมาสติ นั้น คือ เห็นอยู่ รู้อยู่ทางประตูตา หู จมูก ลิ้น กาย และ ใจทุกขณะปัจจุบัน ไม่หลงรักหรือชังอารมณ์ หรือสิ่งที่ถูกรู้  โดยเฉพาะประตูใจ เมื่อเกิดเวทนาที่ถูกใจ เช่น โปร่ง โล่ง เบา สบาย ว่าง ก็ไม่หลงเข้าไปเสพด้วยความติดใจยินดี เมื่อเกิดเวทนาที่ไม่ถูกใจ ก็ไม่หลงยินร้ายเกิดความหงุดหงิดรำคาญดิ้นรนผลักไส และรู้ทุกคิดไม่ติดไป ทั้งไม่สะกดนิ่งไว้  จิตคิดอะไรได้แต่รู้  รู้ตรงผู้รู้ตามทวาร  แล้วจะเห็นจิตคิด นึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง แต่จะไม่ปรากฏผู้เห็น ถ้ารู้สิ่งใดแล้ว มีเราหรือตัวเราหลงเข้าไปยึดถือสิ่งใดหรืออารมณ์ใดในขณะปัจจุบัน เรียกว่า เป็น "อวิชชา" เพราะ ไม่มีสัมมาสติในขณะปัจจุบันนั้น ๆ ถ้าหลงว่ามีสติ หรือ หลงพยายามอยู่กับความรู้สึกตัวอยู่ตลอดเวลา  แต่ไม่รู้ว่าหลงยึดถือ หรือ หลงรัก หลงชังสิ่งใดหรืออารมณ์ใดอยู่ในขณะปัจจุบันนั่น  อย่างนี้  เป็น "อวิชชา" เพราะไม่มีสติ (ความรู้สึกตัวที่เป็นสัมมาสติ) สิ้นยึด ก็สิ้นตัวตน(อวิชชา) สิ้นกิเลส หรือ สิ้นตัวตน (อวิชชา) ก็สิ้นยึด สิ้นกิเลส พ้นทุกข์


ปุจฉาวิสัชนาธรรมเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560

Tweet
  • Social sharing:
  • Add to Facebook
  • Add to Delicious
  • Digg this
  • Add to StumbleUpon
  • Add to Technorati
  • Add to Reddit
  • Add to MySpace
  • Like this? Tweet it to your followers!

Related items

  • 250307B-4 อวิชชาในผู้รู้
  • 250307B-3 เรียนรู้ในเหตุ เข้าใจในผล
  • 250307B-2 พุทธะ ธรรมะ สังฆะ อยู่ที่ใจ
  • 250307B-1 เมื่อไม่ยึดถือก็ไม่ต้องปล่อยวาง
  • 240914A-5 เงื่อนไขบังธรรมเพราะความเข้าใจผิด
More in this category: « อวิชชาคืออะไร เพียรปล่อยวางให้ถึงใจ »
back to top

Search

ปุจฉาวิสัชนา Archive

  • ปุจฉา-วิสัชนา 2560
    • พฤษภาคม 60
    • มิถุนายน 60
    • กรกฎาคม 60
    • สิงหาคม 60
    • กันยายน 60
    • ตุลาคม 60
    • พฤศจิกายน 60
    • ธันวาคม 60
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2561
    • มกราคม 61
    • กุมภาพันธ์ 61
    • มีนาคม 61
    • เมษายน 61
    • พฤษภาคม 61
    • มิถุนายน 61
    • กรกฎาคม 61
    • สิงหาคม 61
    • กันยายน 61
    • ตุลาคม 61
    • พฤศจิกายน 61
    • ธันวาคม 61
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2562
    • มกราคม 62
    • กุมภาพันธ์ 62
    • มีนาคม 62
    • เมษายน 62
    • พฤษภาคม 62
    • มิถุนายน 62
    • กรกฎาคม 62
    • สิงหาคม 62
    • กันยายน 62
    • ตุลาคม 62
    • พฤศจิกายน 62
    • ธันวาคม 62
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2563
    • มกราคม 63
    • กุมภาพันธ์ 63
    • มีนาคม 63
    • เมษายน 63
    • พฤษภาคม 63
    • มิถุนายน 63
    • กรกฎาคม 63
    • สิงหาคม 63
    • กันยายน 63
    • ตุลาคม 63
    • พฤศจิกายน 63
    • ธันวาคม 63
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2564
    • มกราคม 64
    • กุมภาพันธ์ 64
    • มีนาคม 64
    • เมษายน 64
    • พฤษภาคม 64
    • มิถุนายน 64
    • กรกฎาคม 64
    • สิงหาคม 64
    • กันยายน 64
    • ตุลาคม 64
    • พฤศจิกายน 64
    • ธันวาคม 64
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2565
    • มกราคม 65
    • กุมภาพันธ์ 65
    • มีนาคม 65
    • เมษายน 65
    • พฤษภาคม 65
    • มิถุนายน 65
    • กรกฎาคม 65
    • สิงหาคม 65
    • กันยายน 65
    • ตุลาคม 65
    • พฤศจิกายน 65
    • ธันวาคม 65
  • ปุจฉา-วิสัชนา 2566
    • มกราคม 66
    • กุมภาพันธ์ 66
    • มีนาคม 66
    • เมษายน 66
    • พฤษภาคม 66
    • มิถุนายน 66
    • กรกฎาคม 66
    • สิงหาคม 66
    • กันยายน 66

5BA01AEA 57EC 462B B6FB 90B6B03148ED

719CBB23 865C 4DF5 A1C8 222F752DCCBB

« May 2025 »
Mon Tue Wed Thu Fri Sat Sun
      1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 11
12 13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31  

Facebook

เพจหลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย

บทถอนอธิษฐาน

  • บทถอนอธิษฐาน
Copyright © หลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย 2025 All rights reserved.
กันยายน 60